ตรวจสอบและทบทวนบทที่1


ตรวจสอบและทบทวน

        สืบค้นมาตรฐานวิชาชีพครูตามข้อบังคับคุรุสภา มาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2556 มาตรฐานด้านความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ มาตราฐานที่ 6 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน นำมากำหนดจุดหมายในการศึกษารายวิชาเพื่อการบรรลุมาตรฐานดังกล่าวนี้
       มาตรฐานความรู้
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2556 เพิ่มมาตรฐานวิชาชีพครูเป็น 11 มาตรฐาน (จากเดิมมีเพียง 9 มาตรฐาน) โดยเพิ่ม 2 มาตรฐาน  เพิ่มมาตรฐาน ปรัชญาการศึกษา” , “คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณและได้จัดให้มาตรฐาน การจัดการเรียนรู้และ การบริหารจัดการในห้องเรียนจากเดิมที่แยกเป็น 2 มาตรฐาน รวมไว้ด้วยกันเป็น 1 มาตรฐาน และเปลี่ยนแปลงบางมาตรฐานเช่น เดิม มาตรฐานภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ก็เปลี่ยนเป็น ภาษาและวัฒนธรรมแทน
        มาตรฐานความรู้ ทั้ง 11 มาตรฐาน ประกอบด้วยความรู้ดังต่อไปนี้
1. ความเป็นครู
2. ปรัชญาการศึกษา  ( เพิ่มเติม )
3. ภาษาและวัฒนธรรม (เดิม ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู)
4. จิตวิทยาสำหรับครู
5. การพัฒนาหลักสูตร
6. การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน (รวมจาก 2 มาตรฐานเป็น 1 มาตรฐาน
7. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (เดิม การวิจัยทางการศึกษา)
8. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
9. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
10. การประกันคุณภาพการศึกษา
11. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ  ( เพิ่มเติม )

มาตรฐานที่ 6
มาตรฐานที่ 6 การบริหารจัดการในห้องเรียน
สาระความรู้           

1. ทฤษฏีและหลักการบริหารจัดการ
2. ภาวะผู้นำทางการศึกษา
3. การคิดอย่างเป็นระบบ
4. การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร
5. มนุษย์สัมพันธ์ในองค์กร
6. การติดต่อสื่อสารในองค์กร
7. การบริหารจัดการชั้นเรียน
8. การประกันคุณภาพการศึกษา
9. การทำงานเป็นทีม
10. การจัดทำโครงงานทางวิชาการ
11. การจัดโครงการฝึกอาชีพ
12. การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา
13. การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
14. การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน
สมรรถนะ            

1. มีภาวะผู้นำ
2. สามารถบริหารจัดการในชั้นเรียน
3. สามารถสื่อสารได้อย่างมีคุณภาพ
4. สามารถในการประสานประโยชน์
5. สามารถนำนวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดกา


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
สาระที่ ๗   วิทยาศาสตร์
มาตรฐาน ว ๗         เข้าใจ  แผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่นมีการเคลื่อนที่ใน ทิศทางที่ต่างกัน ผลจากการเคลื่อนที่ทาให้เกิดสิ่งต่างๆบนพื้นผิวโลก ทั้งบนพื้นดินและใต้มหาสมุทร เช่น เทือกเขา ภูเขา เนินเขา ที่ราบสูง แอ่ง หุบเขา ภูเขาไฟ   การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกมีอยู่ 3 แบบหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัด
ผู้เรียนรู้อะไร
ผู้เรียนทำอะไรได้
1.  สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ  และปรากฏการณ์การหรือการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
1.    การ ที่โลกหมุนรอบตัวเองนี้ทำให้เกิดการกำหนดทิศ โดยโลกหมุนรอบตัวเองทวนเข็มนาฬิกา ปลือกโลกมีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า เพลต (Plate) ซึ่งมีอยู่ประมาณ 20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโดออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก เป็นต้น เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลา
       ตั้งคำถาม การสังเกต สืบค้นข้อมูล บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและอธิบายการเกิดทิศและปรากฏการณ์การขึ้นตกของดวงดาวโดยใช้แผนที่ดาว   ผู้เรียนสามารถประดิษฐ์โมเดลรูปโลกหรือแผ่นเปลือกโลกได้แล้วนำเสนอผลงาน




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้